[x] ปิดหน้าต่างนี้
 
ยินดีต้อนรับเข้าสู่เว็บไซต์ศกร.ตำบลคลองกวาง ต.คลองกวาง อ.นาทวี จังหวัดสงขลา
 

ข้อมูลพื้นฐานทั่วไป

ศกร.ตำบลคลองกวาง

            ศกร.ตำบลคลองกวาง ตั้งอยู่ที่ บริเวณองค์การบริหารส่วนตำบลคลองกวาง หมู่ที่ ๓ บ้านช้างไห้ตำบลคลองกวาง   อำเภอนาทวี  จังหวัดสงขลา  

สังกัด

           ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอนาทวี ตั้งอยู่ที่ บริเวณที่ว่าการอำเภอนาทวี  ตำบลนาทวี  อำเภอนาทวี  จังหวัดสงขลา รหัสไปรษณีย์ ๙๐๑๖๐

โทรศัพท์ ๐-๗๔๓๗ - ๓๑๖๗ โทรสาร ๐- ๗๔๓๗-๓๑๖๗ E – mail natawee_nfe@windowslive.com

ประวัติความเป็นมาของ ศกร.ตำบลคลองกวาง

ศกร.ตำบลคลองกวาง  เดิมเป็นโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน บ้านช้างให้  ในสมเด็จพระบรมราชชนนี (สมเด็จย่า) โดยมีนายฉลาด  บัวขาว  เป็นผู้บริจาคที่ดินจำนวน ๓๐ ไร่ ต่อมาโรงเรียนได้ถูกยุบไป ต่อมา นายดุสิต  ทองสาย ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอนาทวีในขณะนั้น ได้ขออนุญาตใช้อาคารเป็นศูนย์
การเรียนชุมชนตำบลคลองกวาง จากนายเจริญ  ชูรักษ์  นายกองค์การบริหารส่วนตำบลคลองกวางในขณะนั้น เพื่อเป็นสถานที่พบกลุ่มนักศึกษาและห้องสมุดประจำตำบล โดยได้รับความร่วมมือในการพัฒนาจากองค์การบริหารส่วนตำบลคลองกวาง หน่วยงานต่างๆ และประชาชนในพื้นที่

          จากความร่วมมือในการจัดการศึกษาทุกภาคส่วน ทำให้ศูนย์การเรียนชุมชนตำบลคลองกวาง ได้รับเลือกเป็นศูนย์การเรียนชุมชนต้นแบบ จากสำนักงาน กศน.จังหวัดสงขลา โดยเน้นการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ปัจจุบันศูนย์การเรียนชุมชนตำบลคลองกวาง ได้ยกฐานะเป็น ศกร.ตำบลคลองกวาง เพื่อเป็นหน่วยงานจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตลอดจนส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตตามนโยบายของรัฐบาล เพื่อส่งเสริมให้คนในชุมชนเข้าถึงบริการในการจัดการศึกษาอย่างรอบด้าน
และส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต

ทำเนียบผู้บริหาร

ลำดับที่

ชื่อ – สกุล

ตำแหน่ง

ระยะเวลาที่ดำรงตำแหน่ง

นายดุสิต  ทองสาย

ผอ.ศูนย์ กศน.อำเภอนาทวี

๑๖ มี.ค. ๒๕๔๕ – ๓๐ ก.ย. ๒๕๔๙

นายสมพงษ์  ฉิมหนู

รักษาการในตำแหน่ง
ผอ.ศูนย์ กศน.อำเภอนาทวี

๑ ต.ค. ๒๕๔๙ – ๒๗ ธ.ค. ๒๕๔๙

นายวิเชียร  โชติช่วง

ผอ.ศูนย์ กศน.อำเภอนาทวี

๒๘ ธ.ค. ๒๕๔๙ – ปัจจุบัน

นายธนชาติ  บัวผัน

ครูศรช.ตำบลคลองกวาง

๑ ตุลาคม ๒๕๔๕– ๑ ตุลาคม ๒๕๔๗

นายศราวุฒิ  บุตรแสง

หัวหน้าศกร.ตำบลคลองกวาง

๑ ตุลาคม ๒๕๔๘ – ปัจจุบัน

 

ทรัพยากรและสิ่งอำนวยความสะดวกในการจัดการศึกษา

        สถานที่ตั้ง ศกร.ตำบลคลองกวาง ตั้งอยู่ที่ บริเวณองค์การบริหารส่วนตำบลคลองกวาง หมู่ที่ ๓ ตำบลคลองกวาง   อำเภอนาทวี  จังหวัดสงขลา  

ลักษณะอาคาร ศกร.ตำบลคลองกวาง มีอาคารเป็นเอกเทศ

พื้นที่ใช้สอย ของ กศน.ตำบลคลองกวาง

ศกร.ตำบลคลองกวาง มีเนื้อที่ทั้งหมดจำนวน ๓  ไร่ ๓  งาน โดยแบ่งสัดส่วน ดังนี้

          ๑. อาคาร กศน.ตำบล มีขนาดกว้าง    เมตร  ยาว ๓๐ เมตร   แบ่งพื้นที่ใช้สอย ดังนี้

              -  ห้องศูนย์ ไอซีที  มีขนาดกว้าง    เมตร  ยาว    เมตร  

              -  ห้องสมุด   มีขนาดกว้าง          เมตร  ยาว    เมตร  

              -  ห้องเรียน   มีขนาดกว้าง          เมตร  ยาว    เมตร  

               -  ห้องพักครู  มีขนาดกว้าง      เมตร   ยาว    เมตร 

          ๒.  สวนป่าเทิดพระเกียรติ  จำนวน ๒  ไร่

          ๓.  ฐานเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง  จำนวน    ไร่ ประกอบด้วยฐานเรียนรู้ ดังนี้

-  ฐานเรียนรู้การเพาะเห็ดนางฟ้า

-  ฐานเรียนรู้การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ

-  ฐานเรียนรู้การทำสารไร่แมลง

-  ฐานเรียนรู้การเลี้ยงปลาดุกปลาสลิดปลาสวายปลาหมอในบ่อดิน

-  ฐานเรียนรู้การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก

-  ฐานเรียนรู้การเลี้ยงปลาดุกปลาสวาย ปลาหมอในบ่อปูนซีเมนต์

-  ฐานเรียนรู้การปลูกไม้ไผ่เพื่อบริโภค

ข้อมูลตำบลคลองกวาง

ตำบลคลองกวาง ประกอบด้วย    หมู่บ้าน ดังนี้

หมู่ที่

ชื่อหมู่บ้าน

จำนวนครัวเรือน

พื้นที่ (ไร่)

บ้านนาปรัง

๑,๒๔๐

๒๗,๕๐๐ ไร่

บ้านคลองไข่เน่า

๔๓๖

๗,๕๐๐ ไร่

บ้านช้างให้

๑๓๖

๘,๗๕๐ ไร่

บ้านเขาวัง

๑๕๔

,๐๐๐ ไร่

บ้านเก่า

๙๘

๔,๑๒๕ ไร่

บ้านคลองยอ

๑๔๕

๑๒,๕๐๐ ไร่

บ้านคลองบอน

๑๘๘

๒,๗๕๐ ไร่

ข้อมูล ณ วันที่ ๒๕ เมษายน  ๒๕๕๔

ข้อมูลเกี่ยวกับตำบลคลองกวาง

 - ทิศเหนือ จดเขตตำบลคลองทราย อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
 - ทิศใต้ จดเขตตำบลทับช้าง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
 - ทิศตะวันออก จดเขตตำบลปลักหนู และตำบลสะท้อน อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
 - ทิศตะวันตก จดเขต อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

 - เนื้อที่ ตำบลคลองกวาง มีเนื้อที่โดยประมาณ ๑๐๑ ตารางกิโลเมตร

ภูมิประเทศ
        ลักษณะภูมิประเทศของตำบลคลองกวาง ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบสลับเนินเขากระจายทั่วไปและเป็นบริเวณป่าสงวนเป็นส่วนใหญ่

ประชากร
        มีประชากรทั้งสิ้น ๕
,๐๘๐ คน แยกเป็นชาย ๒,๕๕๔ คน แยกเป็นหญิง ๒,๕๒๖ คน จำนวน
 
, ๒๓๓ ครัวเรือน ความหนาแน่นของประชากรต่อพื้นที่ทั้งตำบล ๔๑.๙๖ คน /ตร.กม.

สภาพทางเศรษฐกิจ
อาชีพ

 - ทำสวนยางพารา
 - ทำสวนผลไม้ เช่น เงาะ ทุเรียน ลองกอง เป็นต้น
 - รับราชการ

หน่วยธุรกิจในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลคลองกวาง
- ร้านซ่อมจักรยานยนต์ ๘ แห่ง
- ร้านค้าย่อย ๓๐ แห่ง

สภาพทางสังคม

การศึกษา
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๓ แห่ง
- โรงเรียนประถมศึกษา ๓ แห่ง
- โรงเรียนมัธยมศึกษา ๑ แห่ง (ร.ร.บ้านนาปรัง)
- โรงเรียนอาชีวศึกษา - แห่ง
- โรงเรียนปอเนาะ - แห่ง
- ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน / ห้องสมุดประชาชน ๗ แห่ง

สถาบันและองค์กรทางศาสนา ฯลฯ
- วัด / สำนักสงฆ์ ๔ แห่ง (วัด ๑ แห่ง สำนักสงฆ์ ๑ และที่พักสงฆ์ ๒ แห่ง)
- มัสยิด ๒ แห่ง (มัสยิดบ้านคลองบอน, มัสยิดบ้านสองแพรก)
- ศาลเจ้า - แห่ง
- โบสถ์   - แห่ง

สาธารณสุข
- โรงพยาบาลของรัฐ ขนาด เตียง - แห่ง
- โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล ๒ แห่ง
- สถานพยาบาลเอกชน     - แห่ง

- ร้านขายยาแผนปัจจุบัน   - แห่ง
- อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ ๑๐๐
ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
- ตำรวจชุมชน ๒ แห่ง

การบริการพื้นฐาน
การคมนาคม (แสดงจำนวนและสภาพทางคมนาคมทางบก)

- ถนนลาดยาง   ๓ สาย
- ถนนลูกรัง      ๑๖ สาย
- ถนนหินคลุก   ๖ สาย
- ถนน คสล.      ๕ สาย

แหล่งน้ำธรรมชาติ
-ลำห้วย ๑๑ สาย

แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
- ฝาย, อ่างเก็บน้ำ ๔ แห่ง
- บ่อน้ำตื้น๗๑ แห่ง
- บ่อโยก ๕ แห่ง (ใช้การไม่ได้)
- อื่นๆ สระน้ำหมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่๑,๒,๓,๕ จำนวน ๔ แห่ง

 ข้อมูลอื่น ๆ
มวลชนจัดตั้ง
- ลูกเสือชาวบ้าน ๑ รุ่น ๔๐ คน
- ไทยอาสาป้องกันชาติ ๑ รุ่น ๓๕ คน
- กลุ่มออมทรัพย์ ๕ กลุ่ม
- อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ๖๐ คน
- กลุ่มแม่บ้าน ๘๐ คน
- อื่น ๆ (ระบุ) - รุ่น

ผู้นำปกครองท้องที่ ประกอบด้วย
หมู่ที่ ๑  นายจำลอง ดำคง ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ ๑
หมู่ที่ ๒  นายสนิท ขวัญทอง ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ ๒
หมู่ที่ ๓  นายยุทธ์ วุ่นแสง ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ ๓
หมู่ที่ ๔  นายไพฑูรย์ สวนจันทร์ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ ๔
หมู่ที่ ๕  นายสมศักดิ์ มณีเลิศ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ ๕
หมู่ที่ ๖  นายธำรงศักดิ์ หนูทองแดง กำนันตำบลคลองกวาง ๖
หมู่ที่ ๗  นายไสว แสงสุวรรณ์ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ ๗

ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่

จุดเด่นของพื้นที่ (ที่เอื้อต่อการพัฒนาตำบล)

        ตำบลคลองกวางเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่อยู่ในเขตอุทยาน คือ อุทยานแห่งชาติเขาน้ำค้าง ซึ่งมีป่าที่สมบูรณ์ มีสัตว์ป่ามากมาย และมีจุดท่องเที่ยวอีกแห่ง คือ หมู่บ้านปิยมิตร ๕ ซึ่งมีแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ คือ อุโมงค์ประวัติศาสตร์ และอุโมงค์ประวัติศาสตร์ ๐๖ (อุโมงค์ประวัติศาสตร์ ๐๖ ซึ่งอุทยานแห่งชาติเขาน้ำค้างเป็นผู้ดูแล) ปัจจุบันมีการเปิดให้นักท่องเที่ยวเข้าชม และมีร้านอาหารบริการ แก่นักท่องเที่ยวด้วย ในแต่ละปีจะมีนักท่องเที่ยวทั้งไทยและต่างประเทศเข้ามาเยี่ยมชมเป็นจำนวนมาก

 
สาธารณูปโภคและสิ่งอำนวยความสะดวก

                 -   ตู้เย็น                  จำนวน                 ตู้

                 -  คอมพิวเตอร์          จำนวน                 เครื่อง
                 - สัญญาน wifi

แหล่งเรียนรู้และเครือข่าย

 

ที่

ชื่อ / หน่วยงาน

ที่อยู่

ประเภทเครือข่าย

ประเภทการจัดกิจกรรม

การให้ความร่วมมือ

๑.

องค์การบริหารส่วน

ตำบลคลองกวาง

ม.๓   ต.คลองกวาง

อ.นาทวี จ.สงขลา

ภาครัฐ

การศึกษาต่อเนื่อง

เครือข่ายจัดกิจกรรม

 

หน่วยบริการปฐมภูมิ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนบ้านเก่าหมู่ที่   
ต.คลองกวาง อ.นาทวี
จ.สงขลา

ม. ๕ ต.คลองกวาง

อ.นาทวี
จ.สงขลา

ภาครัฐ

การศึกษาพัฒนาทักษะชีวิต

วิทยากร,เครื่องมือ อุปกรณ์

๒.

หน่วยบริการปฐมภูมิโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนบ้านนาปรัง หมู่ที่ ๑

ต.คลองกวาง อ.นาทวี

จ.สงขลา

ม.๑ ต.คลองกวาง

อ.นาทวี

จ.สงขลา

ภาครัฐ

การศึกษาพัฒนาทักษะชีวิต

วิทยากร,เครื่องมือ อุปกรณ์

๓.

กลุ่มออมทรัพย์หมู่บ้าน

บ้านนาปรัง

ม.๑ ต.คลองกวาง

อ.นาทวี จ.สงขลา

ประชาสังคม

การศึกษาพัฒนาทักษะชีวิต

ร่วมจัดกิจกรรม,วิทยากร

๔.

ชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลคลองกวาง

ม.๓ ต.คลองกวาง

อ.นาทวี จ.สงขลา

ประชาสังคม

การศึกษาพัฒนาทักษะชีวิต

ร่วมจัดกิจกรรม,วิทยากร

๕.

ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนตำบล

หมู่ที่    ต.คลองกวาง อ.นาทวี จ.สงขลา

ประชาสังคม

การศึกษาพัฒนาทักษะชีวิต

ร่วมจัดกิจกรรม,วิทยากร

๖.

นายไสว  แสงสุวรรณ

 

ที่ทำการผู้ใหญ่บ้าน

ม.๗ บ้านคลองบอน

ต.คลองกวาง 

อ.นาทวี จ.สงขลา

บุคคล

การศึกษา กศน.

กรรมการสถานศึกษา,องค์กรนักศึกษา,เครือข่ายจัดกิจกรรม

๗.

นายยุทธ   วุ่นแสง

ที่ทำการผู้ใหญ่บ้าน

ม.๓ บ้านช้างไห้

ต.คลองกวาง อ.นาทวี

จ.สงขลา

บุคคล

การศึกษา กศน.

เครือข่ายจัดกิจกรรม

๘.

อุทยานแห่งชาติเขาน้ำค้าง

หมู่ที่  ๑ ต.คลองกวาง อ.นาทวี จ.สงขลา

อุทยาน

การศึกษา กศน.

เครือข่ายจัดกิจกรรม

 

ภูมิปัญญาท้องถิ่น

ลำดับที่

ชื่อภูมิปัญญาท้องถิ่น

ความสามารถและประสบการณ์

ที่อยู่

๑.

นายไสว   แสงสุวรรณ

การเลี้ยงปลาดุก

หมู่ที่ ๗ บ้านคลองบอนตำบลคลองกวาง

๒.

นายคิม  ขุนสง่า

การจักรสานไม้ไผ่  กระเชอ  กระด้ง

หมู่ที่ ๒ บ้านไขมุ่ก 

ตำบลคลองกวาง

๓.

นายสนิท  มณีสุวรรณ

การผูกแห  ผูกพร่ำ 

  หมู่ที่    ตำบลฉาง

๔.

นางเนียม  บัวอินทร์

การทำเครื่องจักรสาน

๓๐  หมู่ที่ ๑  ตำบลคลองกวาง

๕.

นายสมศักดิ์ ธรรมโชโต

การขยายพันธุ์พืช

หมู่ที่ ๒ตำบลคลองกวาง

๖.

นายสวัสดิ์  รัตนาเลิศ

การผลิตปุ๋ยชีวภาพ

๒๕/๑หมู่ที่ ๒  ตำบลคลองกวาง

๗.

นายทิ่ง  เพชรจันทร์

การรักษาผู้ถูกงูพิษกัด

หมู่ที่ ๓ ตำบลคลองกวาง

๘.

นายชัยยันต์  จันบัว

การทำสมุนไพร

๓๔  หมู่ที่ ๕ ตำบลคลองกวาง

นายเจียร  เทพวิไล

เกษตรธรรมชาติ

๕๖ หมู่ที่ ๒ บ้านคลองไข่มุก
ตำบลคลองกวาง

นายจินดา จิรจินดางกูร

สมุนไพร

หมู่ที่ ๒ บ้านคลองไข่มุก
ตำบลคลองกวาง

นายอภิชาติ      ผลกล่ำ

เกษตรธรรมชาติ

หมู่ที่ ๓ บ้านช้างไห้

นางขุ้ย            ทองสี

โภชนาการ

หมู่ที่ ๓ บ้านช้างไห้

๑๐

นางพิรมล        อรัญศักดิ์

หมอดิน

หมู่ที่ ๓ บ้านช้างไห้

๑๑

นายทองดี         ถาวรหงษ์

เกษตร

หมู่ที่ ๓ บ้านช้างไห้

๑๒

นายเกลื่อม       คงทอง

พิธีกรรม

หมู่ที่ ๒ บ้านคลองไข่มุก
ตำบลคลองกวาง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

แหล่งเรียนรู้อื่น

ลำดับที่

ชื่อแหล่งเรียนรู้อื่น

ประเภทแหล่งเรียนรู้

ที่อยู่

๑.

กลุ่มทำเครื่องจักรสานไม้ไผ่

หัตถกรรม

๑๕ บ้านไขมุก ตำบลคลองกวาง

กลุ่มเย็บตับสิเหรง

หัตถกรรม

บ้านไขมุก ตำบลคลองกวาง

กลุ่มผลิตปุ๋ย

เกษตรกรรม

หมู่ที่ ๑ บ้านนานาปรังตำบลคลองกวาง

กลุ่มขนมไทย

โภชนาการ

หมู่ที่ ๓ บ้านช้างไห้  ตำบลคลองกวาง

กลุ่มเครื่องแกงตำมือ

(กลุ่มผู้สูงอายุ)

โภชนาการ

หมู่ที่ ๓บ้านช้างห้  ตำบลคลองกวาง

อุทยานแห่งชาติเขาน้ำค้าง

ประวัติศศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ

และสิ่งแวดล้อม

ตำบลคลองกวาง

อุโมงค์ประวัติศาสตร์

ประวัติศศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ

และสิ่งแวดล้อม

หมู่บ้านปิยมิตร 

ตำบลคลองกวาง

อุทยานแห่งชาติเขาน้ำค้าง

ประวัติศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ

และสิ่งแวดล้อม

ตำบลคลองกวาง

๙.

อุโมงค์ประวัติศาสตร์

ประวัติศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ

และสิ่งแวดล้อม

หมู่บ้านปิยมิตร 

ตำบลคลองกวาง

๑๐

ศูนย์การเรียนรู้กองทุนหมู่บ้านอำเภอนาทวี

ธุรกิจชุมชนและกองทุนหมู่บ้าน

อาคารหลังที่ว่าการอำเภอ

หมู่ที่ ๑ ตำบลนาทวี

๑๑

สถาบันการเงินชุมชน

ธุรกิจชุมชนและกองทุนหมู่บ้าน

หมู่ที่ ๑ บ้านนาปรัง

ตำบลคลองกวาง

๑๒

กองทุนสวัสดิการชุมชน

ธุรกิจชุมชนและกองทุนหมู่บ้าน

หมู่ที่ ๑ บ้านนาปรัง

ตำบลคลองกวาง

๑๓

กลุ่มสบู่สมุนไพรสามราศี

ธุรกิจชุมชน

หมู่ที่ ๕ บ้านเก่าตำบลคลองกวาง อ.นาทวี

จ.สงขลา

๑๔

กลุ่มวิสาหกิจชุมชน

กลุ่มน้ำยาง

ธุรกิจชุมชน

หมู่ที่ ๕ บ้านเก่าตำบลคลองกวาง อ.นาทวี

จ.สงขลา

๑๕

กลุ่มออมทรัพย์

กองทุนหมู่บ้าน

หมู่ที่ ๑,๒,๓,๔,๕,๖,๗

ตำบลคลองกวาง อ.นาทวี

จ.สงขลา

๑๖

กลุ่มร้านศูนย์สาธิตการตลาด

ธุรกิจชุมชน

หมู่ที่ ๓ ,๒ ,๑ตำบลคลองกวาง อ.นาทวี

จ.สงขลา

๑๗

กลุ่มเกษตรธรรมชาติ

เกษตรกรรม

หมู่ที่  ๒ ตำบลคลองกวาง

อ.นาทวี     จ.สงขลา

 

ทิศทางการดำเนินงาน

          สถานศึกษาได้ประชุมบุคลากรเพื่อร่วมกันประเมินสถานการณ์ของสถานศึกษา  โดยใช้การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) ในการกำหนดจุดแข็งและจุดอ่อนจากสภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษา  รวมทั้งโอกาสและอุปสรรคจากสภาพแวดล้อมภายนอกสถานศึกษา อันเป็นปัจจัยต่อการจัดการศึกษาของสถานศึกษา  เพื่อนำผลไปใช้ในการกำหนดทิศทางการดำเนินงานของสถานศึกษา  ซึ่งได้ผลการประเมินสถานการณ์ของสถานศึกษา  ดังนี้

จุดแข็ง  (สภาพแวดล้อมภายใน)

          ๑.  ศกร.ตำบลมีความเป็นเอกเทศ

          ๒.   ศกร..ตำบลมีความเป็นเอกภาพ

          ๓.   ศกร..ตำบลมีบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ (TEAM) 

          ๔.   ศกร..ตำบลมีเครี่องอำนวยความสะดวก ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

          ๕.   ศกร..ตำบลมีระบบสาธารณูปโภค ในการให้บริการ

          ๖.   ศกร..ตำบลมีความปลอดภัยในการเดินทางมาเข้าร่วมกิจกรรม

          ๗.  ศกร..ตำบลมีความสัมพันธ์กับชุมชน

           ๘.  ศกร.. ตำบลมีศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนเพื่อการมีงานทำสำหรับรองรับผลิตภัณฑ์จากชุมชน

         ๙.   ศกร..ตำบลเป็นศูนย์การเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับประชาชนในพื้นที่

          ๑๐.  ศกร..ตำบลเป็นศูนย์วิทยบริการทางด้านการศึกษาที่เข้มแข็ง

จุดอ่อน  (สภาพแวดล้อมภายใน)

          ๑.บุคลากร(ครู)ของ ศกร..ตำบลยังขาดความชำนาญด้านงานวิชาการ

          ๒.บุคลากร(ครู)ของ ศกร..ตำบลมีวุฒิการศึกษาไม่ตรงกับวิชาที่สอน

          ๓.  บุคลากร(ครู)ขาดทักษะและความชำนาญทางด้านภาษา

               การใช้เทคโนยี และการจัดทำข้อมูลสารสนเทศ 

          ๔.  การจบหลักสูตรของนักศึกษาไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด         

โอกาส  (สภาพแวดล้อมภายนอก)

          .  ภาคีเครือข่าย หน่วยงานภาครัฐและเอกชนให้การส่งเสริมและสนับสนุนเป็นอย่างดี 

          .  มีแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย สามารถใช้เป็นเครือข่ายเพื่อจัดการเรียนการสอนได้อย่างต่อเนื่อง 

          .  ผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชนให้ความสำคัญในการใช้เป็นกลไกพัฒนาบุคคล

          .  ประชาชนให้การยอมรับในการจัดกิจกรรมภายในชุมชน

อุปสรรค  (สภาพแวดล้อมภายนอก)

        .  ปัญหาภัยธรรมชาติ

          .  ปัญหายาเสพติด (น้ำกระท่อม)

          .  ปัญหาทางด้านการบริหารของรัฐบาล 

          .  ปัญหาทางด้านนโยบายของสำนักงาน กศน.

          .  ปัญหาการจัดสรรงบประมาณ

          ๖.  ปัญหาการก่อความไม่สงบ

          จากผลการประเมินสถานการณ์ของสถานศึกษา  โดยวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) ของสถานศึกษาดังกล่วข้างต้น  สถานศึกษาสามารถนำมากำหนดทิศทางการดำเนินงานของสถานศึกษา  ได้แก่  ปรัชญา  วิสัยทัศน์ อัตลักษณ์ พันธกิจ  เป้าประสงค์  ตัวชี้วัดความสำเร็จ  และกลยุทธ์  ดังนี้

ทิศทางการดำเนินงานของสถานศึกษา

ปรัชญา ศกร.ตำบลคลองกวาง การศึกษาคือชีวิต

         ศกร.. ตำบลคลองกวาง คือ แหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตของประชาชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

วิสัยทัศน์

       เป็นศูนย์ศกร. ตำบลที่เน้นการศึกษาแบบบุราณการ และนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้แก่ชุมชนให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยื

พันธะกิจ

           ๑. เป็นศูนย์รวมของชุมชนและประสานเครือข่ายของ สกร.อำเภอนาทวี ระดับตำบล

           ๒. เป็นแหล่งเรียนรู้และส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของประชาชน

           ๓. ส่งเสริมสนับสนุนภูมิปัญญาเกษตรธรรมชาติ โดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

อัตลักษณ์     ศกร..ตำบลคลองกวางต้นแบบเกษตรธรรมชาติสู่หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

เป้าประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จ

เป้าประสงค์

ตัวชี้วัดความสำเร็จ

         

          ประชาชนตำบลคลองกวาง  ได้รับโอกาสทางการศึกษาตลอดชีวิต และการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำที่มีคุณภาพ  อย่างทั่วถึง และเท่าเทียมกัน บนพื้นฐาน ของสังคมฐานความรู้  และการมีอาชีพอย่างยั่งยืน  พร้อมก้าวสู่ประชาคมอาเซียน

         

 

 ร้อยละ๘๐ของประชาชนตำบลคลองกวางที่ได้รับการศึกษาตลอดชีวิต และการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นบนพื้นฐานของสังคมฐานความรู้และการประกอบอาชีพที่มั่นคงอย่างยั่งยืนพร้อมพัฒนาศักยภาพตนเองก้าวสู่ประชาคมอาเซียน

 

 

 

 

กลยุทธ์การดำเนินงานของ ศกร.ตำบลคลองกวาง

กลยุทธ์ที่ ๑ ลุยถึงที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย

กลยุทธ์ที่ ๒ จัดกิจกรรมหลากหลายโดนใจผู้เรียน

          กลยุทธ์ที่ ๓ ขยายแหล่งเรียนรู้และเทคโนโลยี

          กลยุทธ์ที่ ๔ ผนึกกำลังเครือข่าย และกระจายบริการการศึกษา

          กลยุทธ์ที่ ๕ พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการ

 ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ปีงบประมาณ ๒๕๕๕กระทรวงศึกษาธิการ

๑.       การปรับตัวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน/ประชาคมโลก

๒.       การพัฒนาสถานศึกษาและองค์ความรู้ (๒.๑.๒)

๓.       การพัฒนาเทคโนโลยีและเครื่องมืออุปกรณ์ (๓.๔)

๔.       การพัฒนาครูทั้งระบบ (๔.๒)

๕.       การพัฒนาศักยภาพผู้เรียน (๕.๑, ๕.๕, ๕.๒)

๖.       การวิจัยและถ่ายทอดองค์ความรู้

๗.       การเพิ่มโอกาสทางการศึกษา (๗.๒, ๗.๓)

๘.       การส่งเสริมการมีงานทำ (๘.๑)

๙.       การบริหารจัดการกลยุทธ์ของกระทรวงศึกษาธิการ

***  หมายเหตุ (......)  หมายถึง ยุทศาสตร์การจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ที่เกี่ยวกับสถานศึกษาและกศน.ตำบล

 

 ยุทธศาสตร์และมาตรการการพัฒนาการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษจังหวัดชายแดนภาคใต้

          ยุทธศาสตร์ที่    ยุทธศาสตร์พัฒนาคุณภาพการศึกษา

          ยุทธศาสตร์ที่    ยุทธศาสตร์ส่งเสริมศาสนศึกษา

          ยุทธศาสตร์ที่    ยุทธศาสตร์เสริมสร้างโอกาสทางการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิต

          ยุทธศาสตร์ที่ ๔  ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการศึกษาเพื่ออาชีพและการมีงานทำ

          ยุทธศาสตร์ที่    ยุทธศาสตร์พัฒนาการบริหารจัดการการศึกษา

          ยุทธศาสตร์ที่ ๖ ยุทธศาสตร์จัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคง     

(แผนพัฒนาการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษจังหวัดชายแดนภาคใต้ (พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๕) 
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา  กระทรวงศึกษาธิการ)

นโยบายเรงดวนที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษา 

 ๒. การจัดตั้งศูนยฝกอาชีพชุมชน

๒.๒ เรงสํารวจและวิเคราะหขอมูลเชิงลึกเกี่ยวกับความตองการดานการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทําของประชาชน ความตองการดานแรงงาน สินคา และบริการ รวมทั้งศักยภาพของพื้นที่ ทั้ง ๕ ดาน กลาวคือ ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแตละพื้นที่  ศักยภาพของพื้นที่ตามลักษณะ

ภูมิอากาศศักยภาพของภูมิประเทศและทําเลที่ตั้งของแตละพื้นที่ ศักยภาพของศิลปะวัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชีวิตของแตละพื้นที่ และศักยภาพของทรัพยากรมนุษยในแตละพื้นที่ เพื่อนํามากําหนดหลักสูตรอาชีพตาม ๕กลุมอาชีพหลัก กลาวคือ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสรางสรรค และบริหารจัดการและบริการ

 ๒.๓เรงพัฒนาและจัดทําหลักสูตรการศึกษาอาชีพใหสอดคลองกับความตองการของผูเรียน ความตองการของตลาด และศักยภาพของพื้นที่โดยมีเปาหมายเพื่อใหการจัดการศึกษาอาชีพแนวใหม เปนการจัดการศึกษาที่สามารถสรางอาชีพหลัก ที่มั่นคงใหกับผูเรียน โดยสามารถสรางรายไดไดจริงทั้งในระหวางเรียนและสําเร็จการศึกษาไปแลว และสรางความสามารถเชิงการแขงขันใหกับชุมชน

 ๒.๔ จัดใหมีศูนยฝกอาชีพในทุกอําเภออยางนอยอําเภอละ ๒ แหง เพื่อเปนศูนยกลางในการฝก พัฒนา สาธิต และสรางอาชีพของผูเรียนและชุมชน รวมทั้งเปนที่จัดเก็บแสดง จําหนาย และกระจายสินคาและบริการของชุมชนอยางเปนระบบครบวงจร

 ๒.๕ ประสานการดําเนินงานกับศูนยฝกอาชีพชุมชนของหนวยงานและสถานศึกษาตางๆในพื้นที่เพื่อเชื่อมโยงเปนเครือขายการฝกและสรางอาชีพของประชาชนและชุมชนในจังหวัดกลุ่มจังหวัดและระหวางจังหวัด

๒.๖จัดใหมีระบบการประสานงานเพื่อสนับสนุนใหผูเรียนสามารถเขาถึงแหลงทุนตางๆ สําหรับเปนชองทางในการเสริมสรางความเขมแข็งและการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันดานอาชีพอยางตอเนื่องใหกับผูเรียน

๒.๗  จัดใหมีการกํากับ ติดตาม และรายงานผลการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำอยางเปนระบบตอเนื่อง พรอมทั้งนําผลที่ไดมาใชในการพัฒนาคุณภาพการดําเนินงานให้เปนไปตามความตองการดานการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทําของประชาชน ความตองการของตลาด และศักยภาพของพื้นที่ทั้ง ๕ ดาน

๓.  เรงรัดจัดการศึกษานอกระบบตั้งแตแรกเกิดจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อยกระดับ

การศึกษาให้กับประชาชน

        ๓.๑  เรงพัฒนาหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มุงเนนใหผูเรียนสามารถนําสาระการเรียนรูและวิธีการเรียนรูไปใชประโยชนไดจริงในการพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยรวม และสรางเสริมสมรรถนะการประกอบอาชีพที่สามารถสร้างรายได้อย่างมั่นคง

   ๓.๒ เรงพัฒนาตําราเรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานใหมีเนื้อหาสาระการเรียนรูที่ทันสมัย ครอบคลุมตามโครงสรางหลักสูตร นําไปใชประโยชนไดจริง ได้มาตรฐานทั้งความรูสากลและภูมิปญญาทองถิ่น โดยจัดทําในรูปแบบสื่อเอกสารและสื่ออิเล็กทรอนิกส ที่มีคุณภาพ และเผยแพรใหสถานศึกษาในสังกัดอยางทั่วถึง 

   ๓.๓ สงเสริมใหกศน.อําเภอทุกแหงดําเนินการเทียบโอนความรูและประสบการณ รวมทั้งผลการเรียนอยางเปนระบบไดมาตรฐานสอดคลองกับหลักสูตรเพื่อการขยายโอกาสทางการศึกษาการศึกษาใหกับประชาชนอยางกวางขวาง

   ๓.๔  พัฒนาระบบการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษาที่มีความโปรงใส ยุติธรรม ตรวจสอบได มีมาตรฐานตามที่กําหนด และสามารถตอบสนองความตองการของกลุมเปาหมายอย่างมีประสิทธิภาพ

๔.  เรงรัดการจัดระบบความรูสําหรับประชาชน

   ๔.๑รณรงคสงเสริมใหครอบครัวชุมชนและสังคมตระหนักถึงความสําคัญของการอานเพื่อเปนวิธีการในการแสวงหาความรูตอเนื่องตลอดชีวิต

    ๔.๒เรงพัฒนาความรูความสามารถของผูเรียนและประชาชนใหสามารถอานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

     ๔.๓ พัฒนาหนังสือและสื่อที่มีเนื้อหาสาระจากภูมิปญญาทองถิ่น และหนังสือดีมีคุณภาพในการพัฒนาความรูสําหรับประชาชนในชุมชน 

  นโนบายต่อเนื่องการดำเนินงานของสถานศึกษา

     ๑.  นโยบายดานการศึกษานอกระบบ

            ๑.๑จัดการศึกษานอกระบบตั้งแตแรกเกิดจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน

            ๑)ดําเนินการใหผูเรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานไดรับการสนับสนุนคาจัดซื้อตําราเรียน คาจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียน และคาเลาเรียนอยางทั่วถึง เพื่อเพิ่มโอกาสในการรับการศึกษาที่มีคุณภาพโดยไมเสียคาใชจาย

                ๒) จัดหาตําราเรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีคุณภาพตามที่สํานักงาน กศน. ใหการรับรองคุณภาพใหทันตอความตองการของผูเรียน พรอมทั้งจัดใหมีระบบหมุนเวียนตําราเรียนเพื่อเปดโอกาสใหผูเรียนทุกคนสามารถเขาถึงการใชบริการตําราเรียนอยางเท่าเทียมกัน 

      ๓) ขยายการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีคุณภาพใหกับประชากรวัยแรงงานที่ไมจบการศึกษาภาคบังคับและไมอยูในระบบโรงเรียน โดยเฉพาะผูดอยโอกาสกลุมตางๆ

             ๔) พัฒนาระบบฐานขอมูลรวมของนักศึกษากศน.ใหมีความครบถวน ถูกตองทันสมัยและเชื่อมโยงกันทั่วประเทศสามารถสืบคนและสอบผ่านไดทันความตองการเพื่อประโยชนในการจัดการศึกษาใหกับผูเรียน

    ๕)จัดใหมีวิธีการเรียนรูที่เนนการฝกปฏิบัติจริงเพื่อใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจและเจตคติที่ดีตอการเรียนรู รวมทั้งสามารถพัฒนาทักษะเกี่ยวกับสาระและวิธีการเรียนรูที่สามารถนําไปประยุกตใชไดอยางมีประสิทธิภาพ

๑.๒  การสงเสริมการรูหนังสือ

๑)  พัฒนาระบบฐานขอมูลผูไมรูหนังสือทั้งในระดับพื้นที่และสวนกลางใหมีความครบถวน ถูกตอง ทันสมัย และเปนระบบเดียวกัน

๒)  พัฒนาหลักสูตร สื่อ แบบเรียน เครื่องมือวัดผล และเครื่องมือการดำเนินงานสําหรับผูไมรูหนังสือใหสอดคลองกับสภาพของแตละกลุม

เปาหมาย

 ๓)  เพิ่มศักยภาพครู กศน.และภาคีเครือขายที่รวมจัด ใหมีความรู  

ความสามารถและทักษะการจัดกระบวนการเรียนรูใหกับผูไมรูหนังสืออยางมีประสิทธิภาพและมีคุณภาพ

 ๔)มุงเนนใหสถานศึกษาจัดกิจกรรมสงเสริมการรูหนังสือ การคงสภาพการ รูหนังสือ การพัฒนาทักษะการรูหนังสือ และการพัฒนาทักษะดานคอมพิวเตอรพื้นฐานเพื่อส่งเสริมการรูหนังสือ สําหรับใหประชาชนไดนําไปใชเปนเครื่องมือในการศึกษาและเรียนรูนโยบายตอเนื่อง 

 ๕)พัฒนาระบบการประเมินผลระดับการรูหนังสือใหมีมาตรฐานเปนที่ยอมรับในระดับประเทศ       

๑.๓  การศึกษาตอเนื่อง

๑)  มุงจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทําอยางยั่งยืน โดยให้ความสําคัญกับการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทํา ใน ๕ กลุมอาชีพ ประกอบดวย อาชีพเกษตรกรรมอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสรางสรรค และกลุมอํานวยการและอาชีพเฉพาะทาง ที่สอดคลองกับศักยภาพของแตละพื้นที่ เพื่อใหผูเรียนสามารถนําความรูความสามารถ เจตคติที่ดีตอการประกอบอาชีพและทักษะที่พัฒนาขึ้นไปใชประโยชนและสรางรายไดไดจริง

๒)  มุงจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตใหกับทุกกลุมเปาหมาย โดยจัด กิจกรรมการศึกษาที่มุงเนนใหทุกกลุมเปาหมายมีความรู้ความสามารถในการจัดการชีวิตของตนเองใหอยูในสังคม ไดอยางมีความสุข รวมทั้งการใชเวลาวางใหเปนประโยชนตอตนเอง ครอบครัว และชุมชน

๓) มุงจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชนโดยใชรูปแบบการฝกอบรมการประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู  และรูปแบบอื่นๆ ที่เหมาะสมกับกลุมเปาหมาย โดยเนน การสรางจิตสํานึกความเปนประชาธิปไตย ความเปนพลเมืองดี เศรษฐกิจชุมชน การอนุรักษพัฒนาธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และการรองรับการเปดเสรีประชาคมอาเซียน และหลักสูตรเชิงบูรณาการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

๔) พัฒนาระบบคลังหลักสูตรการศึกษาตอเนื่องใหไดมาตรฐาน และสะดวกตอการใช้งานเพื่อสนับสนุนการจัดการศึกษาของสถานศึกษาและภาคีเครือขาย    

๑.๔  การพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน

๑)  เรงรัดพัฒนาคุณภาพผูเรียนใหมีคุณลักษณะที่พึงประสงคตามจุดมุง หมายและมาตรฐานของหลักสูตร

๒)  พัฒนาครูและผูที่เกี่ยวของใหสามารถจัดการเรียนรูไดอยางมีคุณภาพโดย

สงเสริมใหมีความรูความสามารถในการจัดทําแผนการเรียนการสอน การจัดกระบวนการเรียนรู และการวัดและประเมินผล

๓)  สงเสริมการพัฒนาหลักสูตรทองถิ่น และกิจกรรมการเรียนรูที่หลากหลายสอดคลองกับความตองการและสภาพของกลุมเปาหมาย

๔)  สงเสริมการพัฒนาสื่อแบบเรียน สื่ออิเล็กทรอนิกส และสื่ออื่นๆ ประกอบหลักสูตรโดยการมีสวนรวมของทั้งภาครัฐและเอกชน

๕)  สงเสริมการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อสงเสริมการศึกษาตลอดชีวิตที่หลากหลายสอดคลองกับสภาพ และความตองการของกลุมเปาหมายและชุมชน

๖)  มุงเนนใหกลุมเปาหมายที่ลงทะเบียนเรียนไดเรียนในรูปแบบที่เหมาะสมกับสภาพและความตองการของตนเอง โดยมีอัตราการคงอยูไมนอยกวารอยละ ๘๐ มีผลสัมฤทธิ์ในสาระความรูพื้นฐานไม่ต่ำกวารอยละ ๖๐

๗) พัฒนาระบบการวัดผลและประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลักสูตรโดยเฉพาะหลักสูตรในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานใหไดมาตรฐาน โดยการนําขอทดสอบกลางมาใชอยางมีประสิทธิภาพ

๑.๕  การประกันคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

๑)  เรงรัดใหสถานศึกษาพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในใหไดมาตรฐาน โดยพัฒนาบุคลากรใหมีความรู ความเขาใจ และสามารถดําเนินการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาได

อยางตอเนื่องโดยใชการประเมินภายในดวยตนเอง

๒)  เรงรัดใหสํานักงาน กศน.จังหวัด/กทม. ดําเนินการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาโดยตนสังกัดใหผานการประเมินคุณภาพภายใน ไมนอยกวารอยละ ๘๐

๓)  เรงรัดดําเนินการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา กศน.ที่มีผลการประเมินภายนอกของสถานศึกษาไมไดตามมาตรฐานที่ สมศ.กําหนดโดยปรับแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา และดําเนินการตามแผนการจัดการศึกษาของสถานศึกษาใหไดคุณภาพตามมาตรฐานที่กําหนด  สําหรับสถานศึกษาที่ยังไมไดเขารับการประเมินคุณภาพภายนอก ใหพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาใหไดคุณภาพตามมาตรฐานที่กําหนด

๔) สงเสริม สนับสนุนใหสถานศึกษาที่ไดรับการรับรองคุณภาพมาตรฐาน สมศ. ผดุงระบบการประกันคุณภาพการศึกษาใหไดตามมาตรฐานที่กําหนด

๑.๖  พัฒนาการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต

๑)  จัดและพัฒนาหลักสูตร รูปแบบและกิจกรรมสงเสริมการศึกษาและการเรียนรูใหเหมาะสมสอดคลองกับสภาพ บริบทในพื้นที่ และความตองการของกลุมเปาหมายในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใตเพื่อใหสามารถพัฒนาศักยภาพของตนเอง และเสริมสรางความสัมพันธในทองถิ่น

๒)  สงเสริมการเทียบโอนความรูและประสบการณ และการเทียบระดับ

การศึกษาดานศาสนศึกษาเขาสูการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

๓)  ใหหนวยงานและสถานศึกษาจัดใหมีมาตรการดูแลรักษาความปลอดภัยแกบุคลากรและนักศึกษา กศน.ตลอดจนผูมาใชบริการอยางทั่วถึง

๒.  นโยบายดานการศึกษาตามอัธยาศัย

๒.๑  การสงเสริมการอาน

๑)  พัฒนาระดับความสามารถในการอานของประชาชนทุกกลุมเปาหมายใหไดระดับอานคลอง เขียนคลอง และอานเชิงคิดวิเคราะหพื้นฐาน โดยผานกระบวนการปฏิรูปการเรียนการสอนที่มีคุณภาพ

๒) พัฒนาคนไทยใหมีนิสัยรักการอาน ใฝเรียน ใฝรูโดยปลูกฝงและ

สรางเจตคติใหเห็นคุณคาและประโยชนของการอานประชาสัมพันธ

สงเสริมใหทุกคนมีสวนรวมและกําหนดมาตรการจูงใจเครือขายสงเสริมการอาน

๓) สงเสริมใหมีการสรางบรรยากาศ  และสิ่งแวดลอมที่เอื้อตอการ

อานใหเกิดขึ้นในสังคมไทยโดยสนับสนุนการพัฒนาแหลงการอาน

ใหเกิดขึ้นอยางกวางขวาง  และหลากหลาย รวมทั้งมีความพรอมใน

ดานสื่ออุปกรณที่สนับสนุนการอาน และการจัดกิจกรรมเพื่อสงเสริม

การอานที่หลากหลาย โดยเฉพาะงานมหกรรมรักการอานในสวนภูมิภาค

๔)  สงเสริม และสนับสนุนการสรางเครือขายสงเสริมการอานโดยจัดใหมีอาสาสมัครสงเสริมการอานในทุกหมูบ้าน

๕)  สงเสริมใหมี นครแหงการอานในจังหวัดที่มีความพรอมเพื่อสรางเสริมบทบาทของการส่งเสริมการอาน

๒.๒  หองสมุดประชาชนประจำตำบล

๑)  มุงเนนพัฒนาหองสมุดประชาชนทุกแหงใหเปนศูนยกลางการเรียนรูตลอดชีวิตของชุมชนเปนแหลงคนควาและแลกเปลี่ยนเรียนรูการพัฒนาอาชีพเพื่อการมีงานทําและสรางรายไดอยางยั่งยืนและการสรางความพรอมใหกับประชาชนในการเขาสูประชาคมอาเซียน

๒)  จัดตั้งหองสมุดประชาชนในอําเภอที่ยังไมมีหองสมุดประชาชน เพื่อจัดบริการใหกับประชาชนอยางครอบคลุมและทั่วถึงโดยเนนการระ

ดมทรัพยากรและความรวมมือจากภาคีเครือขายในการดําเนินงาน

๓)  จัดหาโครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อเชื่อมโยงกับแหลงการเรียนรูตางๆ สําหรับใหบริการในหองสมุดประชาชน

๔)  จัดกิจกรรมสงเสริมการเรียนรูในรูปแบบที่หลากหลายทั้งภายในและภายนอกหองสมุด เพื่อปลูกฝงนิสัยรักการอาน และพัฒนาศักยภาพการเรียนรูดวยตนเองของประชาชน เพื่อสามารถนําความรูที่ไดรับไปใชประโยชนไดจริงในการปฏิบัติ

 ๕)  จัดหนวยบริการเคลื่อนที่พรอมอุปกรณเพื่อสงเสริมการอานและการเรียนรูที่หลากหลายออกใหบริการประชาชนในพื้นที่ตางๆ อยางทั่วถึง สม่ําเสมอเพื่อเพิ่มโอกาสการเรียนรูและการพัฒนาอาชีพของประชาชนและชุมชน

 

๖)  พัฒนาศักยภาพบุคลากร ที่รับผิดชอบการบริการของหองสมุดประชาชนใหมีความรู ความสามารถในการใหบริการสนับสนุนการดําเนินงานหองสมุด        

๗)  แสวงหาภาคีเครือขายเพื่อใหเกิดการมีสวนรวมในการสนับสนุนการดําเนินงานหองสมุดประชาชน

๓.  นโยบายดานการสงเสริมการเรียนรูของชุมชน

  ๓.๑  พัฒนา กศน.ตําบล/แขวง ใหเปนศูนยกลางการสรางโอกาสและกระจายโอกาสทางการศึกษาใหกับประชาชนในชุมชน

                           ๑)  จัดหาครุภัณฑและสิ่งอํานวยความสะดวก ตลอดจนโครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสมกับ กศน.ตําบล/แขวง ใหครบทุกแหงเพื่อสนับสนุนการบริหาร การจัดกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู ที่สามารถตอบสนองความตองการของประชาชนและชุมชนไดทันเวลา

                       ๒)  จัดหาหนังสือและสื่อการเรียนรูในรูปแบบตางๆ อาทิ สื่อสิ่งพิมพ สื่อเทคโนโลยี ที่มีคุณภาพในรูปแบบและสาระที่หลากหลาย ทันสมัย ประชาชนสามารถนําไปใชประโยชนในการพัฒนาตนเองและครอบครัว การพัฒนาอาชีพ การพัฒนาชุมชน และการสราง ความบันเทิง  เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแขงขันและความสุขในชีวิตใหกับประชาชนในชุมชน

                      ๓)  จัดกิจกรรมสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตเชิงรุกที่หลากหลาย ทันสมัยสรางสรรค ตอเนื่อง และตอบสนองความตองการของประชาชนและชุมชน โดยจัดใหมี การจัดการศึกษาผานทีวีสาธารณะ การฝกอาชีพ การสงเสริมการเรียนรูดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร การปองกันภัยพิบัติ การศึกษาการดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การเสริมสรางกระบวนการประชาธิปไตย การเสริมสรางความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน และความจําเปนเรงดวนตางๆ ของแตละชุมชน

   ๔)  เรงรัดให กศน.ตําบล/แขวง จัดกิจกรรมสงเสริมการอาน และสงเสริมใหมีกลุมสงเสริมการอานเพื่อพัฒนาเปนชุมชนรักการอาน โดยใชอาสาสมัครสงเสริมการอาน เปนกลไกในการจัดกิจกรรมสงเสริมการอานในรูปแบบตางๆ ในชุมชน โดยดําเนินงาน เปนทีมรวมกับครู กศน.ตําบล/แขวง

   ๕)  พัฒนาระบบฐานขอมูลสภาพการรูหนังสือและความตองการทางการศึกษาและการเรียนรูของประชากรวัยแรงงานและผูสูงอายุ ใหครอบคลุมทุกพื้นที่ทั่วประเทศ ครบถวนถูกตอง ทันสมัยและเชื่อมโยงกันอยางเปนระบบ สามารถสืบคนไดทันความตองการ เพื่อประโยชนในการจัดการศึกษาใหกับกลุมเปาหมายดังกลาว

 )สงเสริมและพัฒนาเครือขาย กศน.ตําบล/แขวง เพื่อการประสานเชื่อมโยงและสงตอผูเรียนใหไดรับบริการทางการศึกษาที่สนองตอบตอความตองการอยางมีประสิทธิภาพ

 ๗) พัฒนาระบบการติดตามประเมินผล กศน.ตําบล/แขวง อยางตอเนื่อง รวมทั้งใหมีการติดตามและประเมินผลการดําเนินงาน กศน.ตําบล/แและจัดใหมีการรายงานตอสาธารณะ รวมทั้งนําผลมาพัฒนาการดําเนินงาน กศน.ตําบล/แขวง อยางตอเนื่อง

  ๘) กํากับและติดตามให กศน.ตําบล/แขวง ดําเนินการใหเปนไปตามมาตรฐานการดําเนิน กศน.ตําบล/แขวง

 ๓.๒ สงเสริมและสนับสนุนใหทุกภาคสวนเขามามีสวนรวมเปนภาคีเครือขาย ในการจัด สงเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษาตลอดชีวิตและการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทําอยางยั่งยืนใหครอบคลุมพื้นที่ทุกระดับ

     ๑)พัฒนาระบบฐานขอมูลภาคีเครือขายทุกระดับ โดยจําแนกตามระดับความพรอมในการมีสวนรวม ทั้งนี้ใหดําเนินการจัดทําระบบฐานขอมูลใหมีความถูกตอง ทันสมัย และสามารถเชื่อมโยงกันไดทั่วประเทศ เพื่อประโยชนในการใหการสงเสริมและสนับสนุนไดอยางเหมาะสมสอดคลองกับศักยภาพ และระดับการมีสวนรวมในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของภาคีเครือขาย

   ๒)  พัฒนาบุคลากรภาคีเครือขายใหมีศักยภาพในการจัดการศึกษาตลอดชีวิต

และการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทําอยางมีคุณภาพ

  ๓)ใหหนวยงานและสถานศึกษาประสานการทํางานรวมกับภาคีเครือขายเพื่อใหมีความรูความเขาใจในบทบาทหนาที่ และภารกิจเกี่ยวกับการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในการเปนกลไกสําคัญ เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ  สังคม  ธรรมชาติ  และสิ่งแวด      ลอมอยางยั่งยืน

๓.๓  อาสาสมัคร กศน

๑)   สงเสริมใหผูมีจิตอาสา ตลอดจนผูรูภูมิปญญาทองถิ่นและข้าราชการบํานาญเขามาเปนอาสาสมัคร กศน. โดยเขามามีบทบาทในการจัดกิจกรรมการเรียนรูการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในชุมชน เปนผูสื่อสารขอมูลความรูที่เปนประโยชนแก ประชาชนและนําเสนอความตองการการเรียนรูและการพัฒนาชุมชน โดยทํางานเปนทีมรวมกับครูในสังกัด สํานักงาน กศน.

๒)  สงเสริมใหอาสาสมัคร กศน. ไดรับการพัฒนาสมรรถนะใหเปนผูจัด และผูสงเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ

๓) เสริมสรางขวัญและกําลังใจในรูปแบบตางๆแกอาสาสมัคร กศน.เพื่อใหตระหนักถึงคุณคาและความสําคัญของตนเองและเขามามีสวนรวมดําเนินการจัดและสงเสริมการเรียนรูตลอด ชีวิตอยางมีคุณภาพและยั่งยืน

๓.๔  การสงเสริมการจัดการเรียนรูในชุมชน๑)  จัดกิจกรรมการเรียนรูตลอดชีวิตในชุมชนโดยใช กศน.ตําบล/แขวงที่ดําเนินการอยูแลวใหเกิดประโยชนสูงสุด

๒)  สงเสริมการจัดกระบวนการเรียนรูในชุมชนโดยการจัดทําแผนชุมชนจัดเวทีชาวบาน การศึกษาดูงาน การฝกอบรม เพื่อนําความรูไปแกปญหาหรือพัฒนาชุมชน

๓)  สงเสริมใหมีการบูรณาการความรูในชุมชนใหเชื่อมโยงกับหลักสูตรตางๆของ กศน. โดยคํานึงถึงการประกอบอาชีพและการมีงานทําของผูเรียนที่แทจริง เพื่อประโยชนในการมีงานทําและการเทียบโอนความรูและประสบการณ
๔) สงเสริมใหมีขยายและพัฒนาแหลงการเรียนรูชุมชนในการถายทอดองคความรูโดยใหมีการจัดทําและเผยแพรสื่อเพื่อการธํารงรักษาและถายทอดองคความรูในชุมชน

๕)  พัฒนาศักยภาพและสงเสริมใหภูมิปญญาทองถิ่น ผูเชี่ยวชาญองคความรูดานตางๆ เปนแหลงการเรียนรูของชุมชน

๔.  นโยบายดานการสนับสนุนโครงการพิเศษ

  ๔.๑  โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ

    ๑) สงเสริมการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อ

สนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริหรือโครงการอันเกี่ยวเนื่องจากพระราชวงศ อยางมีคุณภาพและเกิดผลโดยตรงกับกลุม

เปาหมาย

๒)  จัดทําฐานขอมูลโครงการและกิจกรรมของ กศน.ที่สนองงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ

๔.๓  การสงเสริมและจัดการศึกษาสําหรับกลุมเปาหมายพิเศษ

๑)  สงเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหกับกลุมเปาหมายพิเศษ ไดแก ผูสูงอายุ คนพิการ ผูดอยโอกาส ผูไรสัญชาติ เด็กและเยาวชนที่อยูนอกระบบโรงเรียน เด็กดอยโอกาส คนเรรอน คนไทยในตางประเทศ

๒) จัดและสงเสริมการเรียนรูและใชภาษาไทยในชีวิตประจําวันสําหรับ

กลุมชาติพันธุ

๔)  พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรม ใหสอดคลองกับสภาพและความตองการของกลุมเปาหมายพิเศษแตละกลุม

๕)  ศึกษาวิจัยรูปแบบการจัดการศึกษาที่เหมาะสมกับกลุมเปาหมายพิเศษ

๖)  พัฒนาคุณภาพและความมั่นคงในการปฏิบัติงานของครูที่รับผิดชอบ

กลุมเปาหมายพิเศษ

๖.  นโยบายดานการบริหารจัดการ

๖.๑  การพัฒนาบุคลากร

๑)  พัฒนาบุคลากรทุกระดับใหมีสมรรถนะสูงขึ้นอยางตอเนื่อง ทั้งกอนและระหวางการดํารงตําแหนงเพื่อใหสามารถปฏิบัติงาน และบริหารจัดการการดําเนินงานของหนวยงานและสถานศึกษาใหมีประสิทธิภาพและเปนมืออาชีพ

๒)  พัฒนาบุคลากรทุกระดับใหมีความรู ความเขาใจ เจตคติที่ดีในการ

ปฏิบัติงาน และมีความสามารถในการบริหารจัดการศูนยฝกอาชีพชุมชนใหเปนศูนยกลางในการฝกและสรางอาชีพที่มั่นคงใหกับประชาชนและชุมชนพรอมที่จะแขงขันในเวทีอาเซียนและเวทีสากล

๓)  พัฒนาหัวหนา กศน.ตําบล/แขวงใหมีสมรรถนะสูงขึ้นในการบริหารจัดการกศน.ตําบล/แขวง และการปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอยางมีประสิทธิภาพ  โดยเนนการเปนนักจัดการความรู และผูอํานวยความสะดวกการเรียนรู เพื่อใหผูเรียนเกิดการ เรียนรูที่มีประสิทธิภาพอยางแทจริง

๔)  สงเสริมและพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ กศน.ตําบล/แขวง เพื่อการมีสวนรวมในการบริหารการดําเนินงานตามบทบาทภารกิจของ กศน.ตําบล/แขวง อยางมีประสิทธิภาพ

๕)  พัฒนาอาสาสมัคร  กศน.ตําบล / แขวง ใหสามารถทําหนาที่ เปนผูสงเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของ กศน.ตําบล/แขวง ที่มีคุณภาพ

๖)  เสริมสรางสัมพันธภาพระหวางบุคลากร รวมทั้งภาคีเครือขายในทุกระดับเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานรวมกัน โดยจัดใหมีกิจกรรมการพัฒนาบุคลากร และภาคีเครือขายในรูปแบบที่หลากหลายอยางตอเนื่อง เชน มหกรรมกีฬา กศน. การแลกเปลี่ยนเรียนรูการดําเนินงานในรูปแบบตางๆ

๗)  สงเสริมและสนับสนุนใหมีการพัฒนานวัตกรรมสําหรับการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร

๘)  สงเสริมใหบุคลากรในสังกัดพัฒนาตนเองเพื่อเลื่อนตําแหนงหรือเลื่อนวิทยฐานะโดยเนนการประเมินวิทยฐานะเชิงประจักษ

๖.๒  การกํากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผล

๑)  สรางกลไกการกํากับ นิเทศ ติดตาม ประเมินและรายงานผลการดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหเชื่อมโยงกับหนวยงาน สถานศึกษา และภาคีเครือขายทั้งระบบ

๒)  สงเสริมการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และสื่ออื่นๆ ที่

เหมาะสม เพื่อการกํากับ  นิเทศ  ติดตาม ประเมินผล  และรายงานผลอยางมีประสิทธิภาพ

๖.๓  โครงสรางพื้นฐานและอัตรากําลัง

๑) จัดทําแผนการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและดําเนินการปรับปรุงสถานที่และวัสดุอุปกรณ ใหมีความพรอมในการจัดการศึกษา

๒) ระดมทรัพยากรจากชุมชน เพื่อนํามาใชในการปรับปรุงโครงสรางพื้นฐานไหมีความพรอมสําหรับจัดกิจกรรมสงเสริมการเรียนรูของประชาชน

๓) แสวงหาภาคีเครือขายในทองถิ่นเพื่อการมีสวนรวมในการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

๔) เรงผลักดันใหมีการประกาศใชกฎหมายวาดวยการศึกษาตลอดชีวิต

๕) บริหารอัตรากําลังที่มีอยูทั้งในสวนที่เปนขาราชการ พนักงานราชการและลูกจาง ใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการปฏิบัติงาน

๖.๔  การพัฒนาองคความรูและฐานขอมูล

๑)  วิจัยและพัฒนานวัตกรรมการบริหารจัดการที่เหมาะสมและสอดคลองกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการในการใชการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเปนกลไกสําคัญในการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยเฉพาะดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม

๒)  สงเสริมใหมีการจัดการความรูในหนวยงานและสถานศึกษาทุกระดับรวมทั้งการศึกษาวิจัยเพื่อสามารถนํามาใชในการพัฒนาประสิทธิภาพการดําเนินงานที่สอดคลองกับความตองการของประชาชนและชุมชนพรอมทั้งพัฒนาขีดความสามารถเชิงการแขงขันของหนวยงานและสถานศึกษาทั้งในระดับอาเซียนและระดับสากล

๓)  พัฒนาระบบฐานขอมูลใหมีความครบถวน ถูกตอง ทันสมัย และเชื่อมโยงกันทั่วประเทศอยางเปนระบบเพื่อใหหนวยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถนําไปใชเปนเครื่องมือสําคัญในการบริหาร และจัดบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอยางมีประสิทธิภาพ

๔)  สนับสนุนใหมีการประชาสัมพันธและสรางภาพลักษณใหม ของ กศน.ในการสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตและการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทํา เพื่อสรางกระแสใหประชาชนและทุกภาคสวนของสังคมเห็นความสําคัญและเขามามีสวนรวมในการจัดกิจกรรมของ กศน.ทั้งในฐานะผูรับบริการ ผูจัด ผูสงเสริมและสนับสนุนการดําเนินงานของ กศน.
               

ข้อมูลตำบลคลองกวาง

ตำบลคลองกวาง ประกอบด้วย    หมู่บ้าน ดังนี้

หมู่ที่

ชื่อหมู่บ้าน

จำนวนครัวเรือน

พื้นที่ (ไร่)

บ้านนาปรัง

๑,๒๔๐

๒๗,๕๐๐ ไร่

บ้านคลองไข่เน่า

๔๓๖

๗,๕๐๐ ไร่

บ้านช้างให้

๑๓๖

๘,๗๕๐ ไร่

บ้านเขาวัง

๑๕๔

,๐๐๐ ไร่

บ้านเก่า

๙๘

๔,๑๒๕ ไร่

บ้านคลองยอ

๑๔๕

๑๒,๕๐๐ ไร่

บ้านคลองบอน

๑๘๘

๒,๗๕๐ ไร่

ข้อมูล ณ วันที่ ๒๕ เมษายน  ๒๕๕๔

 

ข้อมูลเกี่ยวกับตำบลคลองกวาง

 - ทิศเหนือ จดเขตตำบลคลองทราย อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
 - ทิศใต้ จดเขตตำบลทับช้าง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
 - ทิศตะวันออก จดเขตตำบลปลักหนู และตำบลสะท้อน อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
 - ทิศตะวันตก จดเขต อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

- เนื้อที่ ตำบลคลองกวาง มีเนื้อที่โดยประมาณ ๑๐๑ ตารางกิโลเมตร

ภูมิประเทศ
        ลักษณะภูมิประเทศของตำบลคลองกวาง ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบสลับเนินเขากระจายทั่วไปและเป็นบริเวณป่าสงวนเป็นส่วนใหญ่

 

ประชากร
        มีประชากรทั้งสิ้น ๕
,๐๘๐ คน แยกเป็นชาย ๒,๕๕๔ คน แยกเป็นหญิง ๒,๕๒๖ คน จำนวน
 
, ๒๓๓ ครัวเรือน ความหนาแน่นของประชากรต่อพื้นที่ทั้งตำบล ๔๑.๙๖ คน /ตร.กม.

 

สภาพทางเศรษฐกิจ
อาชีพ

 - ทำสวนยางพารา
 - ทำสวนผลไม้ เช่น เงาะ ทุเรียน ลองกอง เป็นต้น
 - รับราชการ

หน่วยธุรกิจในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลคลองกวาง
- ร้านซ่อมจักรยานยนต์ ๘ แห่ง
- ร้านค้าย่อย ๓๐ แห่ง

สภาพทางสังคม

การศึกษา
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๓ แห่ง
- โรงเรียนประถมศึกษา ๓ แห่ง
- โรงเรียนมัธยมศึกษา ๑ แห่ง (ร.ร.บ้านนาปรัง)
- โรงเรียนอาชีวศึกษา   -  แห่ง
- โรงเรียนปอเนาะ         - แห่ง
- ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน / ห้องสมุดประชาชน ๗ แห่ง

สถาบันและองค์กรทางศาสนา ฯลฯ
- วัด / สำนักสงฆ์ ๔ แห่ง (วัด ๑ แห่ง สำนักสงฆ์ ๑ และที่พักสงฆ์ ๒ แห่ง)
- มัสยิด ๒ แห่ง (มัสยิดบ้านคลองบอน, มัสยิดบ้านสองแพรก)
- ศาลเจ้า - แห่ง
- โบสถ์   - แห่ง


สาธารณสุข
- โรงพยาบาลของรัฐ ขนาด เตียง - แห่ง
- โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล ๒ แห่ง
- สถานพยาบาลเอกชน     -     แห่ง
- ร้านขายยาแผนปัจจุบัน   -    แห่ง
- อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ ๑๐๐

ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
- ตำรวจชุมชน ๒ แห่ง

 

จุดเด่นของพื้นที่ (ที่เอื้อต่อการพัฒนาตำบล)

ตำบลคลองกวางเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่อยู่ในเขตอุทยาน คือ อุทยานแห่งชาติเขาน้ำค้าง ซึ่งมีป่าที่สมบูรณ์ มีสัตว์ป่ามากมาย และมีจุดท่องเที่ยวอีกแห่ง คือ หมู่บ้านปิยมิตร ๕ ซึ่งมีแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ คือ อุโมงค์ประวัติศาสตร์ และอุโมงค์ประวัติศาสตร์ ๐๖ (อุโมงค์ประวัติศาสตร์ ๐๖ ซึ่งอุทยานแห่งชาติเขาน้ำค้างเป็นผู้ดูแล) ปัจจุบันมีการเปิดให้นักท่องเที่ยวเข้าชม และมีร้านอาหารบริการ แก่นักท่องเที่ยวด้วย ในแต่ละปีจะมีนักท่องเที่ยวทั้งไทยและต่างประเทศเข้ามาเยี่ยมชมเป็นจำนวนมาก

-  สถานที่ท่องเที่ยว

          สถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจในตำบลคลองกวาง  มีดังนี้

  อุทยานแห่งชาติเขาน้ำค้าง

          มีพื้นที่ครอบคลุม     ตำบล  คือตำบลคลองกวาง ตำบลทับช้าง  และตำบลประกอบ   สภาพโดยทั่วไปของอุทยาน  มีลักษณะเป็นภูเขาสูงซับซ้อน  สภาพป่ารกทึบอุดมไปด้วยพรรณไม้นานาชนิด   สัตว์ป่าชุกชุม   มีทิวทัศน์   อากาศเย็นสดชื่น   มีน้ำตกที่สวยงามหลายแห่ง  คือ   น้ำตกโตนลาด   ตั้งอยู่หมู่ที่ ๑ ตำบลคลองกวาง  น้ำตกดาดฟ้า  ตั้งอยู่ที่ ๑  ตำบลคลองกวาง  

          อุทยานแห่งชาติเขาน้ำค้าง  ซึ่งอยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอนาทวี   ประมาณ  ๒๕   กิโลเมตร   ทำหน้าที่ดูแลและอนุรักษ์ไว้ซึ่งป่าเขาอุทยานฯ   และเพื่อเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยว   การพักผ่อนหย่อนใจ    ประกอบทั้งอยู่ไม่ไกลจากสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์   คือ   หมู่บ้านปิยมิตร     อันเป็นหมู่บ้านของผู้ร่วมพัฒนาชาติไทย  ซึ่งอดีตเคยเป็น จคม. และไม่ไกลจากหมู่บ้านมีค่ายเก่าของ จคม. ซึ่งเป็นอุโมงค์ลอดใต้ภูเขาพิศดารมาก

     เขาน้ำค้างเป็นยอดเขาสูง มีอากาศหนาวเย็นตลอดปี สมัยโบราณคนที่เคยขึ้นไปบนยอดเขาจะเห็นมีน้ำค้างเป็นเกล็ดอยู่ตามยอดหญ้า ลักษณะเป็นใยแมงมุมแม้แต่ตอนเที่ยงวันก็มีน้ำค้างประปรายอยู่บนยอดหญ้าซึ่งเป็นสภาพที่แปลกเป็นอย่างยิ่ง จึงเรียกขานกันว่า เขาน้ำค้างเขาน้ำค้าง เป็นเสมือนเขตหวงห้ามเป็นระยะเวลากว่า 40 ปี เริ่มตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 2 โดยอยู่ในความยึดครองของ ผู้ก่อการร้ายโจรจีนคอมมิวนิสต์ เป็นบริเวณที่มีพื้นที่ภูมิประเทศเป็นถิ่นทุรกันดาร เทือกเขาสลับซับซ้อน ทำให้เป็นฐานปฏิบัติการใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของแถบนี้ แต่ในที่สุด จากการปฏิบัติการตามแผนยุทธการใต้ร่มเย็น โดยนำนโยบายการเมืองนำการทหาร กองทัพภาคที่ 4 และหน่วยผสมพลเรือนตำรวจทหารที่ 43 (พตท.43) ได้นำนโยบายนี้เข้าปฏิบัติการ สามารถเข้ายึดค่ายปฏิบัติการได้สำเร็จ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2523 ทำให้โจรจีนคอมมิวนิสต์สลายตัวไปในที่สุดจึงเกิดเรื่องราวประวัติศาสตร์ขึ้นมากมายที่อุทยานแห่งชาติเขาน้ำค้าง อุโมงค์ประวัติศาสตร์เขาน้ำค้าง ซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณเขาน้ำค้าง หมู่ที่ 1 ต.คลองกวาง อ.นาทวี จ.สงขลา ห่างจากที่ทำการอุทยานฯ ประมาณ 4 กม. สถานที่แห่งนี้รู้จักกันในนามหมู่บ้านปิยมิตร 5 ในอดีตเป็นหมู่บ้านของบรรดาผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ หลังจากการสู้รบกับฝ่ายรัฐบาลเกือบ 40 ปี พรรคคอมมิวนิสต์ได้ประกาศยุติการสู้รบ เข้าร่วมพัฒนาชาติไทยเมื่อปี 2530 สถานที่น่าสนใจ คือ อุโมงค์ประวัติศาสตร์เขาน้ำค้าง เป็นอุโมงค์ขนาดใหญ่ และยาวที่สุดในประเทศไทย ขุดด้วยกำลังคน 200 คนต่อวัน ใช้เวลาประมาณ 2 ปี เมื่อปี พ.ศ.2515 เป็นที่หลบภัย แหล่งอาวุธ ฐานบัญชาการ สถานพยาบาล โรงเรียนสอนการเมือง ลัทธิมาร์คซ์-เลนิน สายรัฐเซีย หรือความคิดประธานเหมา เจ๋อ ตง ภายในแบ่งเป็น 3 ชั้น มีทางเข้าออก 16 ช่องทาง ความยาวคดเคี้ยวขึ้นลงในภายในอุโมงค์ประมาณ 1,000 เมตร สามารถบรรจุคนได้ประมาณ 200 คน


       ก่อนจะเข้าไปในอุโมงค์ ด่านแรกจะเป็นในส่วนของการจัดแสดงนิทรรศการ เรื่องราวประวัติศาสตร์ รูปถ่ายของผู้บัญชาการสูงสุด (สั่งสังหาร) และเหล่าสหายโจรจีนคอมมิวนิสต์ อาวุธจำลอง และเครื่องไม้เครื่องมือต่างๆ ที่ยังคงเหลืออยู่ ของโจรจีนคอมมิวนิสต์ หรือคอมมิวนิสต์มลายา 

ถัดออกมาข้างนอกอาคารนิทรรศการ ด้านซ้ายมือ จะเป็นพิพิธภัณฑ์สงครามประวัติศาสตร์อดีตสหาย พ.ค.ม.ผู้ล่วงลับ

    เดินต่อไปผ่านบ่อเลี้ยงปลาจะผ่านปากทางอุโมงค์ แต่การเข้าชมภายในอุโมงค์ตามเส้นทางที่กำหนด ต้องขึ้นไปทางบันได 108 ขั้น ทางขึ้นภูเขาเหลียงซาน ได้ครึ่งทางเบี่ยงทางขวามือจะผ่านห้องส้วมสหาย จนถึงยอดเขาเหลียงซาน จะพบหลุมระเบิดขนาดใหญ่ ซึ่งจะมีห้องประชุมใหญ่ ห้องพยาบาล สนามบาส บ้านท่านผู้นำ และห้องวิวาห์ห้าดาว ซึ่งทางการท่องเที่ยงแห่งประเทศไทย สำนักงานหาดใหญ่ ได้มีการจัดกิจกรรมเติมรัก...เขาน้ำค้าง วิวาห์แบบโจรจีนคอมมิวนิสต์ ในวันวาเลนไทน์เป็นประจำทุกปี

  เดินต่อไปลงไปในอุโมงค์ เป็นห้องผ่าตัด ถัดจากห้องผ่าตัดเป็นห้องครัวสำรอง หรือห้องครัวฉุกเฉิน ถัดไปอีกแยกเป็นห้องเก็บเสบียง ถัดมาเป็นห้องธุรการ สนามยิงปืน หรือที่ซ้อมยิงปืน ห้องโทรเลข ห้องประชุม จากห้องประชุม ขึ้นบันไดไปอีก 1 ชั้น เป็นห้องผู้นำ ซึ่งภายในห้องผู้นำจะมีเตียงนอน โต๊ะทำงาน ห้องส้วม ลงมาจากห้องผู้นำตรงบริเวณห้องประชุม จะมีบันไดเดินลงไป 54 ขั้น ก็จะออกสู่นอกอุโมงค์ ทั้งนี้ ทุกชั้นจะมีทางออกทั้งหมด 16 ช่องทาง

 
 

 

การบริการพื้นฐาน
การคมนาคม (แสดงจำนวนและสภาพทางคมนาคมทางบก)

- ถนนลาดยาง   ๓ สาย
- ถนนลูกรัง      ๑๖ สาย
- ถนนหินคลุก   ๖ สาย
- ถนน คสล.      ๕ สาย


แหล่งน้ำธรรมชาติ
-ลำห้วย ๑๑ สาย

แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
- ฝาย, อ่างเก็บน้ำ ๔ แห่ง
- บ่อน้ำตื้น๗๑ แห่ง
- บ่อโยก ๕ แห่ง (ใช้การไม่ได้)
- อื่นๆ สระน้ำหมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่๑,๒,๓,๕ จำนวน ๔ แห่ง

 ข้อมูลอื่น ๆ
มวลชนจัดตั้ง
- ลูกเสือชาวบ้าน ๑ รุ่น ๔๐ คน
- ไทยอาสาป้องกันชาติ ๑ รุ่น ๓๕ คน
- กลุ่มออมทรัพย์ ๕ กลุ่ม
- อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ๖๐ คน
- กลุ่มแม่บ้าน ๘๐ คน
- อื่น ๆ (ระบุ) - รุ่น

ผู้นำปกครองท้องที่ ประกอบด้วย
หมู่ที่ ๑  นายจำลอง ดำคง ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ ๑
หมู่ที่ ๒  นายสนิท ขวัญทอง ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ ๒
หมู่ที่ ๓  นายยุทธ์ วุ่นแสง ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ ๓
หมู่ที่ ๔  นายไพฑูรย์ สวนจันทร์ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ ๔
หมู่ที่ ๕  นายสมศักดิ์ มณีเลิศ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ ๕
หมู่ที่ ๖  นายธำรงศักดิ์ หนูทองแดง กำนันตำบลคลองกวาง ๖
หมู่ที่ ๗  นายไสว แสงสุวรรณ์ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ ๗



เข้าชม : 4386
 
 
กศน.ตำบลคลองกวาง
หมู่ 3  บ้านช้างไห้  ตำบลคลองกวาง  อำเภอนาทวี  จังหวัดสงขลา  90160  
โทร 081 - 8982718 , 084 - 3135576  
Powered by MAXSITE 1.10   Modify by   นิกร เกษโกมล   Version 2.05